ดร.สมเกียรติ เชวงกิจวณิช (Somkiat Chawengkijwanich)


Academic Title: ศาสตราจารย์ (Professor)
Education:

- Ph.D. (Applied Linguistics) University of Tsukuba, Japan
- M.A. (Japanese Studies) University of Tsukuba, Japan
- B.A. (Japanese) Thammasat University

Speciality/Current Research Topic:

การแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทย
การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
ภาษาศาสตร์เปรียบต่างญี่ปุ่น-ไทย
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ

Professional Background:

สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Contact
(Thaprachan): ตึกคณะศิลปศาสตร์ ชั้น 3 ห้อง 12
(Rangsit): ตึกคณะศิลปศาสตร์ ชั้น 4 ห้อง 443

E-mail: somkiat.c@arts.tu.ac.th, kiak1@hotmail.com
Office Hours: -

Publication(Book/Articles):

หนังสือ / ตำรา
1. "แปลญี่ปุ่น-ไทยเพื่อการทำงาน -แปลข่าว อีเมล สุนทรพจน์ โฆษณา การ์ตูน นิยาย-." ปทุมธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565.
2. "แนวคิดและเทคนิค การแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทย." ปทุมธานี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.
3. “เทคนิคพื้นฐาน การเขียนเรียงความภาษาญี่ปุ่น.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2560. (แต่งร่วม)
4. “แปลญี่ปุ่น-ไทย เบื้องต้น (ฉบับปรับปรุง).” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2559.
5. “ศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นที่ควรรู้.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. (แต่งร่วม)
6. “การสอนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น สอนอย่างไรให้นักเรียนไทยใช้เป็น.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557. (แต่งร่วม)
7. “โครงสร้างภาษาญี่ปุ่น.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553. (แต่งร่วม)
8. “แปลญี่ปุ่น-ไทย เบื้องต้น.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2549.
9. “ยินดีต้อนรับ อิรัสไชมะเสะ.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2548. (แต่งร่วม)
10. “ภาษาญี่ปุ่นสำหรับผู้ให้บริการรถโดยสาร.” กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2546. (แต่งร่วม)
11. “ภาษาญี่ปุ่นสำหรับผู้ประกอบการภัตตาคาร ร้านอาหาร” กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2546. (แต่งร่วม)

หนังสือ / ตำราแปล
1. “56 ไวยากรณ์ญี่ปุ่นระดับกลาง.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2564. (แปล)
2. “GO! JLPT N1 ไวยากรณ์.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2563. (แปล)
3. “เรียน 100 ไวยากรณ์ญี่ปุ่นชวนสับสน ชั้นกลาง-สูง ผ่านการ์ตูน.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2558. (แปล)
4. “เตรียมสอบวัดระดับ N2 คันจิ.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2555. (แปล)
5. “รู้ทัน คันจิ.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2554. (แปล)
6. “20 หัวข้อเด็ด พิชิตไวยากรณ์ญี่ปุ่น ชั้นกลาง.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2553. (แปล)
7. “ภาษาญี่ปุ่นง่าย ๆ สไตล์การ์ตูน.” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, 2550. (แปล)
8. “ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการทำงาน”. ภาควิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546. (แปลร่วม)


Academic Works:

วิจัยและบทความวิจัย
-จันทิมา จันทรา ทะคิโมะโตะ, สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2023). กลวิธีแสดงความชัดเจนในการแปลวรรณกรรมเยาวชนภาษาญี่ปุ่น. วารสารศิลปศาสตร์, 23(1), 385-415.
-Chawengkijwanich, S. (2022). Is it Possible to Maintain Information Flow in Japanese into Thai Translation? A Study of Connecting Clauses, Manusya: Journal of Humanities, 25(1), 1-22. doi: https://doi.org/10.1163/26659077-25010011
-การเผยแพร่และการเข้าถึงข้อมูลบริการสาธารณะของชาวไทยและชาวต่างชาติในประเทศญี่ปุ่นในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19: บทวิเคราะห์และกระบวนการปฏิบัติเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ.” 2565. วารสารศิลปศาสตร์ 22(1). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (แต่งร่วม)
-“กลวิธีการแปลอนุพากย์จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย.” 2021. วารสารอักษรศาสตร์ 43(1). คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 70-88.
-"ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย –ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค.” 2563. วารสารศิลปศาสตร์ 20(1). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-“ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย -การแปลคำศัพท์-.” 2561. วารสารอักษรศาสตร์, 47(2). กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-“ปัญหาการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยและสาเหตุของปัญหา.” 2560. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 34(2), 75-91. ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-“เทคนิคการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยให้เป็นธรรมชาติ -วิเคราะห์การแปลเอกสารธุรกิจ-“
(Naturalization in Japanese-Thai Translation -An Analysis of Business Documents Translation-) 2017. วารสารอักษรศาสตร์, 46(1). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-“กลวิธีการแปลสำนวนแสดงวัฒนธรรมภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย.” 2558. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 32(2), 103-118.
-“กลวิธีการแปลภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย -การแปลงานเขียนประเภทความเรียงทั่วไปและเอกสารธุรกิจ-.” 2015. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจาก The Sumitomo Foundation, JAPAN)
-“การสอนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น โดยคำนึงถึงการเรียนรู้ของผู้เรียน : กรณีการสอนคำช่วย に และ で” (Teaching Japanese grammar, being aware of how the learners learn grammar : the case of teaching particles 'ni' and 'de'.) 2014. วารสารภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่น, 2 (1), 63-87.
-“การใช้คำช่วยชี้สถานที่ に และで ในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย” (On the Use of Japanese Particles Showing Location ‘ni’ and ‘de’ of Thai Learners). 2556. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 30 (2), 75-93.
-「タイにおける日本語研究の傾向-1986年~2009年に公開された研究を対象に-」(แนวโน้มการวิจัยด้านภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย –ข้อมูลงานวิจัยที่เผยแพร่ในช่วงปีค.ศ. 1986-2009)-『日本語とタイ語の対照研究-2009年度までの動向』 2011 大阪大学日本語日本文教育センター(共著)
-“ปัญหาในการเรียนรู้สำนวนถูกกระทำของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยและข้อเสนอแนะเพื่อการสอน.” (Problems in the Acquisition of Japanese Passive Voice by Thai Students of Japanese and A Syllabus for Thai Learners) 2554. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 28 (1), 76-91.
-“ปัญหาในการเรียนรู้อกรรมกริยาและสกรรมกริยาของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย.” (Problems on Acquisition of Japanese Transitive and Intransitive Verbs by Thai Students of Japanese) 2008. วารสารศิลปศาสตร์, 8 (1), 79 – 108.
-“การใช้อกรรมกริยา สกรรมกริยา รูปถูกกระทำและรูปให้ทำในภาษาญี่ปุ่นและข้อเสนอแนะเพื่อการสอนผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย.” (The Usage of Japanese Transitive / Intransitive Verbs, Causative and Passive Voice in Japanese and Syllabus for Thai Learners) 2551. รายงานวิจัย โครงการส่งเสริมการวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-“การกำหนดหัวข้อไวยากรณ์ชั้นต้นสำหรับผู้เรียนชาวไทย –แนวคิดสี่ประการจากมุมมองของไวยากรณ์เพื่อการสื่อสาร-”. (タイ人学習者のための初級文法項目の設定-日本語教育文法の視点からの4つの案-) 2007. วารสารเจแปน ฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ, 4. 67-78. (วิจัยร่วม)
-“การเชื่อมประโยคในเรียงความภาษาญี่ปุ่นของผู้ศึกษาภาษาญี่ปุ่นชาวไทย” (Sentence linkage in Japanese essays of Thai students studying Japanese) 2004. วารสารศิลปศาสตร์,4 (1), 48 – 67.
-“การสำรวจความต้องการของนักเรียนที่เรียนภาษาญี่ปุ่นในมัธยมศึกษาตอนปลายระยะที่ 2.” (Survey on Needs of Japanese Language Learners in Senior High School (Phase 2)) 2004. วารสารเจแปน ฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ, 1. 67-78. (วิจัยร่วม)
-“การปรับปรุงระบบ ‘ส่วน’ ในพจนานุกรมคันจิ” (Improvement of the Radical Systems in Some Kanji Dictionaries) 2003. วารสารศิลปศาสตร์, 3 (1), 36 – 53.
- “การถ่ายทอดวัฒนธรรมในงานแปลวรรณกรรมญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย.” 2546. รายงานวิจัย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมูลนิธิ TOSHIBA INTERNATIONAL FOUNDATION.
- “การสำรวจความต้องการของนักเรียนที่เรียนภาษาญี่ปุ่นในมัธยมศึกษาตอนปลาย” (Survey on Needs of Japanese Language Learners in Senior High School.) 2546. วารสารศิลปศาสตร์, 3 (1), 131-144.
-「『非限定』の連体修飾節の一考察」(การศึกษาอนุพากย์คุณศัพท์ชนิด ‘ไม่เฉพาะเจาะจง’) Japanese Linguistics. The National Language Research Institute Tokyo Japan, vol. 7 (2000).
-「高校生の話し合い-『議題の提示』『提案』『反対意見の表明』『説得』の場面の分析」 (ศึกษาการอภิปรายของนักศึกษามัธยมปลายวิเคราะห์สถานการณ์ ‘การเสนอหัวข้อ’ ‘การนำเสนอข้อเสนอ’ ‘การแสดงความคิดเห็นคัดค้าน’ ‘การโน้มน้าว’) JALT Journal of Japanese language Education. The Japan Association for Language Teaching, (1998). (วิจัยร่วม)
-「現代日本語における『彼(女)』に関する一考察」 (การศึกษาคำสรรพนามบุรุษที่สาม‘Kare (Kanojo)’ ในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน) Nihongo to Nihon-bungaku. Tsukuba Daigaku Kokugokokubun-gakkai, (1996) .

การนำเสนอผลงาน Presentation / Proceeding
1. บทบาทหน้าที่ของล่ามและปัญหาการล่ามภาษาญี่ปุ่นชาวไทย กรณีศึกษาระหว่างล่ามมือใหม่และล่ามมืออาชีพ” 2562. เอกสารการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ สรรพศาสตร์ สรรพศิลป์. (แต่งร่วม)
2.「授業の目標と評価-タマサート大学の事例と今後の課題―」『2015年度日本語教育セミナー』 2016 国際交流基金バンコク・JTAT共催
3.「診断テストから見たタイ人学習者の漢字処理能力~初級終了程度の高校生を対象に~」(ความสามารถด้านการใช้คันจิของผู้เรียนชาวไทยจากผลการทดสอบคันจิ กรณีศึกษานักเรียนชั้นมัธยมปลายซึ่งเรียนจบชั้นต้น)『タイ国日本研究国際シンポジウム論文集』  2011  チュラーロンコーン(แต่งร่วม)
4. ‘Challenges and opportunities of academic cooperation between Tohoku and Thammasat University. ’ International Symposium on “Thailand and Japan cooperation in the era of Multicultural Society” 19th August 2011, Institute of East Asian Studies, Thammasat University, Pathumthani
5.「タイ人学習者のための日本語教育文法-自動詞・他動詞の教え方を例として-」(การสอนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นแก่ผู้เรียนชาวไทย กรณีการสอนอกรรมกริยาและสกรรมกริยา) 『大阪大学フォーラム2009 東南アジアにおける日本語・日本文化教育の21世紀的展望-東南アジア諸国と日本との新たな教育研究ネットワークの構築を目指して- 報告書」 2010 大阪大学フォーラム実行委員会
6.「タイ人日本語学習者の誤用文の研究―日タイ異文化コミュニケーションの観点から」(การวิเคราะห์ประโยคผิดของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย –จากมุมมองด้านการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมไทย-ญี่ปุ่น). 2008. Proceedings of International Symposium on The Prospect of Japanese Language Education in Southeast Asia, October 2008, 54-58. (แต่งร่วม)
7.「タマサート大学における日本語教育の現状と課題」 (การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบันและอนาคต) 2008. 日本語日本文化タイ日国際シンポジウム 大阪大学
8. “การสอนไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นจากมุมมองของผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย การสอนคำช่วยท้ายประโยค “ne” และรูปสามารถ” 2007. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 1 มนุษยศาสตร์, 80-92 (แต่งร่วม)
9.「高校生の話し合い ─諸表現と話の進め方」(วิเคราะห์กลวิธีการสนทนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นศึกษาสำนวนที่ใช้และลำดับการดำเนินการสนทนา) 1997 平成9年度日本語教育学会春季大会予稿集 (แต่งร่วม)

อื่น ๆ
1. “บัตรรูปประโยคภาษาญี่ปุ่น N1.” 2565. สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม. (แต่งร่วม อยู่ระหว่างจัดพิมพ์)
2. “บัตรรูปประโยคภาษาญี่ปุ่น N2.” 2564. สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม. (แต่งร่วม)


รายชื่อหนังสือ/ตำรา

-